"คณิตศาสตร์มีบทบาทสำคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดมนุษย์ ทำให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาหรือสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบคอบ ช่วยให้คาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ แก้ปัญหาได้ และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังเป็นเครื่องมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและศาสตร์อื่นๆ"
เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น
วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลา
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
Mind mapping (สาระการเรียนรู้)
หน่วย : Happy Number 3
ภูมิหลัง : การเรียนรู้ของพี่ๆ ป.6 มีความรู้ความเข้าใจเร็วมากๆหลายคน และอีกหลายคนครูต้องเข้าช่วยส่งเสริมมาโดยตลอด เรื่องที่น่าสนใจนำมาสอนพี่ๆ ป.6 เรียนQuarterนี้ คือเรื่อง ทรงตัน, อัตราส่วนและกราฟ, และทบทวนกระบวนการเตรียมO-net /PISA โดยครูมีเป้าหมายคือให้นักเรียนทบทวนความเข้าใจในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ใคร่ครวญกับสิ่งที่แต่ละคนอยากเรียนรู้เพิ่มเติม มีความเข้าใจหน่วยในอัตราส่วนและกราฟ เข้าใจเกี่ยวกับทรงตัน(ความจุ/ปริมาตร) และนักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมบัติสัดส่วนมาใช้แก้ปัญหาสถานการณ์โดยการเรียนรู้ยังคงเน้นทบทวนเนื้อหาที่เรียนมา และนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
เป้าหมายความเข้าใจ : เพื่อให้นักเรียนทบทวนความเข้าใจในการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ใคร่ครวญกับสิ่งที่แต่ละคนอยากเรียนรู้เพิ่มเติม มีความเข้าใจหน่วยในการวัดเกี่ยวกับค่าเฉลี่ย เข้าใจการหาปริมาตรด้วยวิธีการที่หลากหลาย และนักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับการใช้สมบัติสัดส่วนมาใช้แก้ปัญหาสถานการณ์ และนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ปฏิทินการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ Happy Number 3
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Quarter 3 / 2559
...............
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|||
1
|
โจทย์
ทบทบกิจกรรม
-ทักษะและกระบวนการคิดทางคณิตศาสตร์
คำถาม
- นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องใดบ้างในรายวิชาคณิตฯ
และเรื่องใดบ้างที่พี่ๆสนใจอยากเรียนรู้
- เรื่องใดบ้างพี่ๆ อยากทำความเข้าใจเพิ่มเติมในการเรียนรู้ในQuarterนี้
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดเกม
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์ปริศนามะม่วง
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนมีความเข้าใจเรื่องใดบ้างในรายวิชาคณิตฯ
และเรื่องใดบ้างที่พี่ๆสนใจอยากเรียนรู้ ”
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ตนเองสนใจอยากเรียนรู้
*นักเรียนสรุปองค์ความรู้ก่อนเรียนรู้ ในQ.3/59
|
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกม108IQ
, เกม 24
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน)
ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนทบทวนความเข้าใจในการเรียนรู้คณิตศาสตร์
ใคร่ครวญกับสิ่งที่แต่ละคนอยากเรียนรู้เพิ่มเติม
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|||
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
|||||||
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|||
2-3
|
โจทย์
พหุคูณ ตัวหาร
-พหุคูณและตัวคูณร่วม
คำถาม
นักเรียนจะใช้ความรู้เกี่ยวกับพหุคูณ ตัวหาร(พหุคูณและตัวคูณร่วม)
ไปใช้แก้ปัญหากับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Thank pair share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บัตรตัวเลข
- ชุดสื่อตารางสัมพันธ์
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์แผ่นเสียง
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
*พหุคูณ
- ครูนำบัตรมาเรียงจากซ้ายไปขวา แล้วให้นักเรียนหาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนบัตรและความกว้าง
- นักเรียนบันทึกผลความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนบัตรและความกว้างลงในตารางข้างล่าง
- ครูนำบัตรมาเรียงบัตรจากบนลงล่าง
แล้วหาความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนบัตรและความยาว
- นักเรียนบันทึกผลความสัมพันธ์ระหว่างจำนวนบัตรและหาความยาวลงในตารางข้างล่าง
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนสังเกตเห็นพหุคูณของความยาวบัตรคือความยาวของบัตรทั้งหมดที่เรียงไว้ใช่หรือไม่?”
- นักเรียนร่วมแสดงจากการสังเกต พร้อมให้เหตุผล
_โจทย์ท้าทาย
1)_กล่องคุ้กกี้สูงกล่องเห็น5cm 1.กล่องคุ้กกี้6กล่องจะมีความสูงทั้งหมดเท่าไร
2.พหุคูณของความสูงแต่ละกล่อง คือ
ความสูงทั้งหมดที่เรียงซ้อนกัน
2)_เขียนพหุคูณ 5 จำนวนแรกของจำนวนต่อไปนี้
1.พหุคูณของ8
2.พหุคูณของ9
**ตัวคูณร่วม
3.ติดบัตรจากซ้ายไปขวา
และจากล่างขึ้นบนเพื่อที่จะให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
1)ด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวกี่cm ใช้ภาพใน(ที่ผ่านมา)ในการหาผลเฉลย
3)เราสามารถทำให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสได้
ถ้าเราเลือกจำนวนที่เป็นพหุคูณของ2 และ3 มาทำเป็นด้านของรูปสามเหลี่ยมจัตุรัส
กระบวนการคิดของนักเรียน..
1)ความสูงทั้งหมดของกล่องคุ้กกี้คือพหุคูณของจำนวนใด
2)ความสูงทั้งหมดของกลาองลูกอมช๊อกโกแลตคือพหุคูณของจำนวนใด
3)ความสูงทั้งหมดของกล่องคุ้กกี้และกล่องลูกอมช๊อกโกแลตจะเรียงได้สูงเท่ากันที่ความสูงเท่าไร
และต้องใช้จำนวนกล่องแต่ละชนิดอย่างละกี่กล่อง 4)เขียนจำนวนจำนวน3จำนวนแรกที่เมืองเรียงกลาองแล้วความสูงของกลาองทั้งสองชนิดเท่ากัน
โจทย์ท้าทาย
1.เขียนจำนวน4 จำนวนแรกที่เป็นตัวคูณร่วมของจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้
แล้วหาตัวคูณร่วมน้อย
(5,2) (3, 9 (4, 6)
2.เรียงกล่องที่มีความสูง 6cm และ
9cm ซ้อนทับกัน
จำนวนที่น้อยที่สุดที่เป็นความสูงของการเรียงกล่องทั้งสองชนิดได้สูงเท่ากันคือจำนวนใด
ตัวหาร
1.จักวางรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดเดียวกันลงในรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาด
12cm x 18cm ด้านแต่ละด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวเท่าไร
ได้บ้าง
เมื่อถูกจัดเรียงแนวตั้งที่ยาว12cm โดยไม่มีช่องว่าง
--ความยาวของด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเมื่อถูกจัดเรียงในแนวตั้งที่ยาว12cm
โดยที่ไม่มีช่องว่าง ได้แก่ 1cm, 2cm, 3cm, 4cm และ 12cm
2)หาร 12ด้วย1, 2, 3, 4,
6, และ 12 ทีละตัว
1, 2, 3, 4, 6, 12 เป็นตัวหารของ 12
3) นักเรียนค้นพบอะไรจากตัวหารของ 12 ที่ถูกจัดกลุ่มไว้ดังภาพด้านล่าง
4)ด้านแต่ละด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสจะยาวกี่cm
ได้บ้าง เมื่อถูกจัดเรียงในแนวนอนที่ยาว18cm โดยไม่มีช่องว่าง
--ความยาวของด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเมื่อถูกจัดเรียงในแนวตั้งที่ยาว18cm
โดยที่ไม่มีช่องว่าง ได้แก่ 1cm, 2cm, 3cm, 6cm, 9cm และ 18cm
1, 2, 3, 4, 6, 9, 18 เป็นตัวหารของ 18
5) ความยาวของด้านของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสที่สามารถเรียงได้ทั้งในแนวตั้งและแนวนอนโดยไม่มีช่องว่างเป็นกี่cm
ได้บ้าง
โจทย์ท้าทาย
1. หาตัวหารทั้งหมดของ
6, 8 และ 6
2. เขียนตัวหารร่วมทั้งหมดของ 8 และ 36
How to… (แนวคิด2 นร.)
3.หาตัวหารร่วมทั้งหมดของจำนวนแต่ละคู่ต่อไปนี้
และหาตัวหารร่วมมากของสองจำนวน ต่อไปนี้
1.(8, 16) 2.(15, 20) 3.(12, 42)
4.(13, 9)
มีจำนวนบางคู่ เช่น (13,
9) ที่มี 1 เป็นตัวหารร่วม
เพียงจำนวนเดียวเท่านั้น
โจทย์ท้าทาย: “เราต้องการแบ่งปากกา 8ด้าม
และสมุด12เล่มให้นักเรียนแต่ละคนได้รับปากกาและสมุดเท่าๆกัน
จำนวนนักเรียนที่สามารถแบ่งได้เท่าๆกันมีกี่คนได้บ้าง”
****ความสัมพันธ์ระหว่างพหุคูณและตัวหาร
4.คิดเกี่ยวกับตัวหารของ 18
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- นักเรียนนำเสนอข้อมูลช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง
และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- บันทึกผลจากการทดลองลงในสมุดเล่มเล็ก
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม
- ใบงาน / โจทย์การคิด
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับพหุคูณ ตัวหาร(พหุคูณและตัวคูณร่วม) ไปใช้แก้ปัญหากับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|||
มาตรฐาน ค1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน
: ตัวชี้วัด ป.6/1 , ป.6/2
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
4
|
โจทย์
ทรงตัน
-ปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากและลูกบาศก์
-แบบรูปของปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากและลูกบาศก์
คำถาม
นักเรียนจะใช้ความรู้เกี่ยวกับทรงตัน(ปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากและลูกบาศก์
แบบรูปของปริซึมสี่เหลี่ยมมุม)ไปใช้แก้ปัญหากับสถานการณ์ต่างๆ
ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Thank pair share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- รูปทรงเรขาคณิต3 มิติ
-บรรยากาศในชั้นเรียน(เรขาคณิต)
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์108IQ , เกม 24
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
กิจกรรม :
ปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากและลูกบาศก์
1.ครูนำภาพและอุปกรณ์มากให้นักเรียนสังเกต
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“ทรงตันเป็นรูปทรงที่มีพื้นที่ผิวเรียบหรือผิวโค้ง ดังที่แสดง”
2.เขียนจำนวนหรือคำที่ถูกต้องเกี่ยวกับปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากและลูกบาศก์ลงในตารางข้างล่าง
กิจกรรม2: แบบรูปของปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากและลูกบาศก์
1.จากปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากที่แสดงทางด้านขวานี้
1) กลิ้งรูปทรงดังกล่าวไปตามเส้นขอบของมันแล้วเขียนรอยตามเส้นขอบ
2)พับให้เป็นรูปร่าง
3)แบบรูปใดเป็นแบบรูปของปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก
2.ลองพับแบบรูปทางด้านขวานี้
1)ระบายสีลงในหน้าที่ตรงข้ามกับหน้าสีฟ้า BGJM
2)วงกลมล้อมรอบจุดที่ทับกับจุด L
3)ระบายสรด้านที่ทับขอบ HI
3.ลองสร้างกล่องปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก ให้เหมือนกับรูปกล่องที่อยู่ทางด้านขวา
1) วาดส่วนที่เหลือของแบบรูปด้านล่าง
2)ให้ลอกแบบรูปลงในกระดาษและพับ
4.ให้นักเรียนวาดแบบรูปที่สามารถพับเพื่อที่จะสร้างลูกบาศก์ที่มีสันด้านละ
5cm
1)แบบรูปที่สามารถพับเพื่อที่จะสร้างลูกบาศก์ได้
2)ลองวาดแบบรูปที่แตกต่างกันที่สามารถสร้างลูกบาศก์ได้
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- นักเรียนร่วมทดลองทดลองยืนบนเสื่อ
เพื่อหาปริมาณความหนาแน่น
- นักเรียนนำเสนอข้อมูลช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- บันทึกผลจากการทดลองลงในสมุดเล่มเล็ก
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม
- ใบงาน / โจทย์การคิด
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับทรงตัน(ปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากและลูกบาศก์
แบบรูปของปริซึมสี่เหลี่ยมมุม)ไปใช้แก้ปัญหากับสถานการณ์ต่างๆ
ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
: ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization)
เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial
reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric
model) ในการแก้ปัญหา
: ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ
และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ
ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.6/1
, ป.6/2
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6
|
...
...........................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
5
|
โจทย์
ทรงตัน
-การตั้งฉากและขนานกันของหน้าและสัน
-ปริซึมและทรงกระบอก
คำถาม
นักเรียนจะใช้ความรู้เกี่ยวกับทรงตัน(การตั้งฉากและขนานกันของหน้าและสัน
/ปริซึมและทรงกระบอก)ไปปรับในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Brainstorm
- Thank pair share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- รูปทรงเรขาคณิต3 มิติ
-บรรยากาศในชั้นเรียน(เรขาคณิต)
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์108IQ , เกม 24
- นักเรียนร่วมเลนเกม พร้อมนำเสนอวิธีคิด
*เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน
และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
กิจกรรม3 : การตั้งฉากและขนานกันของหน้าและสัน
หน้าที่ตั้งฉากและขนานกัน
1)ถอดส่วนบนของปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉากออก
และกางมุมฉากติดกับหน้าด้านใน
2)วางเครื่องมือที่จะใช้วัดมุมฉากที่ด้านนอกหน้าของลูกบาศก์ดังที่แสดงทางด้านขวา
3)ตรวจสอบกล่องสี่เหลี่ยมมุมฉากที่แสดงด้านล่าง
คำถาม:
1)
หน้าใดบ้างที่ตั้งฉากกัน
2)หน้าใดบ้างที่ไม่ตั้งฉากกัน
4.มีปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก1รูป ให้เขียนหน้าคู่ที่ขนานกัน
5.มีปริซึมมุมฉากอีกรูป
2)สันใดที่ขนานกับสันAB
6. ตรวจสอบลูกบาศก์ด้วยวิธีการที่เคยใช้กับปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก
โจทย์ท้าทาย
1)
หน้าใดที่ขนานกับพื้นห้อง
2)
หน้าใดที่ตั้งฉากกับพื้นห้อง
8.รูปที่วางอยู่ทางด้านขวาแสดงปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก
1)สัน BF ตั้งฉากกับหน้า EFGH
2)ลองหาวันอื่นๆที่ตั้งฉากกับหน้า
EFGH
ขนาดของปริซึมสี่เหลี่ยมมุมฉาก
แสดงโดยใช้ ความกว้าง ความยาว และความสูง
ซึ่งเป็นสัน 3 เส้นที่มาจรดกันที่มุมเดียวกัน
ขนาดลูกบาศก์แสดงได้โดยใช้ความยาวของ สัน
กิจกรรม: ปริซึมและทรงกระบอก
1.พิจารณาทรงตันด้านล่างที่คลุมด้วยระนาบที่มีหน้าขนานกัน
1)หน้าที่ขนานกันที่ถูกระบายสีในรูปทรงแต่ละรูปเป็นรูปอะไร
เปรียบเทียบขนาดของ
2)หน้าที่ไม่ได้ถูกระบายสีในรูปทรงเหล่านี้มีรูปร่างเป็นอย่างไร
มีทั้งหมดกี่หน้า
3)หน้าใดบ้างที่ตั้งฉากกัน
4)บอกชื่อของรูปทรง
a, b, c และ d
5)เขียนจำนวนจุดยอด
สันและหน้าของปริซึม ในตารางด้านล่าง
2.พิจารณารูปทรงต่อไปนี้
1)
หน้าที่ปกคลุมรูปด้านบนเป็นรูปชนิดใด
2)เปรียบรูปร่างและขนาดของหน้า
2 หน้าที่ขนานกัน
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับทรงตัน(การตั้งฉากและขนานกันของหน้าและสัน
/ปริซึมและทรงกระบอก )และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย
ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
: ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization)
เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial
reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric
model) ในการแก้ปัญหา
: ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ
และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ
ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.6/1
, ป.6/2
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ
ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ
ป.6/6
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6-7
|
โจทย์
อัตราส่วน
คำถาม
นักเรียนจะใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วนไปใช้แก้ปัญหากับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดรูปร่างเรขาคณิต
- ไม้เมตร
- ไม้บรรทัด(ขนาดต่างๆ)
|
กระบวนการ : อัตราส่วน
- สมมติสถานการณ์ (การเล่นบาสเกตบอล 3 เกม) ดังนี้
"พวกเราเล่นบาส ตารางด้านล่างนี้แสดงบันทึกการโยนลูกบาสเกตบอลเข้าห่วงของพี่อาม ในการเล่นบาสเกตบอล 3 เกม"
คำถาม "เกมใดที่พี่อามเล่นได้ดี"
*เปรียบเทียบผลการโยนบาสเกตบอลและสนทนากับเพื่อนๆ
เกี่ยวกับแนวคิดของตนเอง
ตารางแสดงบันทึกจำนวนการโยนบาส
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด "ให้นักเรียนบันทึกการโยนบาสในวันที่ 10ก.พ และ 15ก.พในรูปของเศษส่วน โดยตัวส่วนเป็นจำนวนครั้งในการโยนและตัวเศษเป็นจำนวนครั้งที่โยนเข้าห่วง จากนั้นเปรียบเทียบเศษส่วนนั้น"
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดคิด นำเสนอวิธีคิด
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด "ให้นักเรียนแสดงบันทึกการโยนบาส
ในวันที่ 13ก.พ ให้อยู่ในรูปจำนวน"
-นักเรียนร่วมแสดงความคิดคิด นำเสนอวิธีคิด
ครูช่วยขมวดความเข้าใจ ยกตัวอย่าง "ถ้าเราสร้างจำนวนครั้งที่โยน
ทั้งหมดแล้วจำนวนครั้งที่โยนเข้าห่วงจะเป็นส่วนหนึ่งของจำนวนทั้งหมด"
- ตารางต่อไปนี้แสดงบันทึกการโยนลูกบาสของพี่มิสซ์ ให้นักเรียนแสดง
การบันทึกในรูปของจำนวน
(บันทึกการโยนเป็นจำนวนระหว่าง 0 และ 1)
- นักเรียนจำนวนหนึ่งได้ตรวจสอบจำนวนผู้โดยสารบนเครื่องบินในหนึ่งวัน เครื่องบินในหนึ่งวัน เครื่องบินลำใดมีผู้โดยสารแออัดมากกว่ากัน
*ระดับความแออัดแสดงในรูปของจำนวน ที่เป็นการเปรียบเทียบจำนวนผู้โดยสาร
กับจำนวนที่นั่ง เป็นการทำจำนวนที่นั่งให้เป็น 1
** พาเด็ก ไปให้ถึง ความเข้าใจที่อยากให้นักเรียนไปให้ถึง
ระดับความแออัดของเครื่องบินลำเล็ก คือ 117/130 =0.9
ระดับความแออัด 0.9 หมายความว่า จำนวนของผู้โดยสารคือ 0.9 คน
เมื่อเทียบกับที่นั่งทั้งหมดเป็น 1
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด(1) "ให้นักเรียนแสดงความหนาแน่น
ของเครื่องบินใหญ่ โดยระบายสีลงบนกราฟด้านล่าง"
-นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด พร้อมนำเสนอ
*ครูให้โจทย์ใหม่ ท้าทายยิ่งขึ้น
--อัตราส่วนของปริมาณ 2 ปริมาณ--
"เราสามารถอธิบายอัตราส่วนของปริมาณ 2 ปริมาณได้แม้ว่าปริมาณใด
ปริมาณหนึ่งไม่สามาร"
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด(2) "ในห้องเรียนของพี่แตงโม มีเด็กผู้ชาย 16 คน และเด็กผู้หญิง 20 คน จงหาอัตราส่วนของจำนวนเด็กผู้ชายต่อเด็กผู้หญิง"
-นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด พร้อมนำเสนอ
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด(3) "จากห้องเรียนของพี่แตงโม ในคำถาม(3) จงหาอัตราส่วน จำนวนเด็กผู้หญิงต่อจำนวนเด็กผู้ชาย"
-นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด พร้อมนำเสนอ
"อัตราส่วนจะเปลี่ยนแปลงถ้าเราเปลี่ยนปริมาณพื้นฐาน
ในบางกรณีอัตราส่วนมากกว่า 1"
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด แล้วช่วยจัดระบบข้อมูลขณะนักเรียนออกมาแสดงวิธีคิด
- ครูให้นักเรียนทำใบงานเกี่ยวกับอัตราส่วน
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่วนด้วยวิธีคิดที่หลากหลาย และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและฟังก์ชัน: ตัวชี้วัด ป.6/2 , ป.6/3
มาตรฐาน ค 5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล: ตัวชี้วัด ป.6/1มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6 |
................................................................
................................................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
8
|
โจทย์
อัตราส่วน
-ร้อยละ
-โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
คำถาม
นักเรียนจะใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วนไปใช้แก้ปัญหากับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดรูปร่างเรขาคณิต
- ไม้เมตร
- ไม้บรรทัด(ขนาดต่างๆ)
|
กระบวนการ : ร้อยละ
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด(1) "มีผู้โดยสารจำนวน 40คน
รสบัสที่มีจำนวน 50 ที่นั่ง"
*จงหาระดับของความแออัดของคนบนรถบัส
*เปลี่ยนอัตราส่วนนี้ โดยการทำปริมาณพื้นฐานให้เป็น 100
-นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด พร้อมนำเสนอ
* ความเข้าใจที่อยากให้นักเรียนไปให้ถึง
*ถ้าเราคูณอัตราส่วนที่อยู่ในรูปทศนิยมด้วย 100 อัตราส่วนนั้น
จะกลายเป็นร้อยละ จงแสดงระดับของความแออัดของคนที่อยู่
บนรถบัสให้อยู่ในรูปร้อยละ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด "พี่ชมพู่และเพื่อนๆ บันทึกจำนวนที่วิ่งผ่านถนนหน้าโรงเรียนของพวกเขา ในเวลา 20 นาที"
*จงแสดงอัตราส่วนของจำนวนรถ
แต่ละประเภทต่อจำนวนรถทั้งหมด
*ผลรวมของร้อยละของรถแต่ละประเภทเท่าไร
โจทย์ชวนคิด
--อัตราส่วนที่่มากกว่า 100%--
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด(2) "รถไฟหนึ่งโบกี้บรรจุผู้โดยสารได้ 120 คน
จงคำนวณระดับความแออัดของคนที่อยู่บนรถไฟให้อยู่ในรูปร้อยละ"
-นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด พร้อมนำเสนอ
“เมื่อจำนวนผู้โดยสารมากกว่าจำนวนที่จุผู้โดยสารได้ค่าร้อยละจะมากกว่า 100%”
ลองมองสิ่งต่างๆ ที่แสดงในรูปร้อยละ
คำถาม
-"ณ ร้านค้าแห่งหนึ่ง กระเป๋าถือมีราคาเดิมที่ตั้งไว้คือ 6500บาท
ร้านค้าขายไปในราคา 5200บาท ราคาขายต่อราคาเดิมที่ตั้งไว้
คิดเป็นร้อยละเท่าใด"
-"ตารางด้านล่าง แสดงจำนวนผู้โดยสารรถบัสในเวลาต่างๆของวันหนึ่ง"
จากตาราง....คำถาม
1.จงแสดงระดับของความแออัดของผู้โดยสารในเวลาต่างๆ
2.ณ เวลาใดที่มีระดับของความแออัดมากที่สุด
-นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด พร้อมนำเสนอ
กระบวนการ : โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด(3) "ร้านขายเสื้อผ้าแห่งหนึ่งใกล้บ้านของพี่เบียร์ได้ลดราคาเสื้อ"
1.แม่ของพี่เบียร์ซื้อเสื้อเซิ้ตที่ลดราคา20% จาราคาเดิม 1500บาท
2.ถ้าราคาเดิมของเสื้อเซิ้ตคือ 1500บาท แล้วแม่ของพี่เบียร์จะต้องจ่ายเงินเท่าไร ให้คำนวณหาคำตอบโดยวิธีการคิดของนักเรียน 2 คน ต่อไปนี้
-นักเรียนร่วมแสดงวิธีคิด พร้อมนำเสนอ
-ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด แล้วช่วยจัดระบบข้อมูลขณะนักเรียนออกมาแสดงวิธีคิด
- ครูให้นักเรียนทำใบงานความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านและพื้นที่
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่วนด้วยวิธีคิดที่หลากหลาย และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล : ตัวชี้วัด ป.6/1มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6 มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6 |
................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
19-23 ธ.ค.59 |
โจทย์
อัตราส่วน
-ร้อยละ
-โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
คำถาม
นักเรียนจะใช้ความรู้เกี่ยวกับอัตราส่วนไปใช้แก้ปัญหากับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดรูปร่างเรขาคณิต
- ไม้เมตร
- ไม้บรรทัด(ขนาดต่างๆ)
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิดแบ่งสาย
“ให้นักเรียนหาคำตอบจากคำให้การ นักเรียนมีวิธีคิด/เหตุผลอย่างไร?”
- ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม มีเม็ดยางให้ 12 เม็ด หยิบได้ 1,2,3
เม็ดก็ได้ต่อครั้ง คนหยิบสุดท้ายเป็นคนแพ้ และจะทำอย่างไรให้คนแรกที่หยิบเป็นคนชนะ
- แบ่งนักเรียนกลุ่มละ
4 คน 2 คนแรกเล่น 2 คนหลังสังเกต
แล้วสลับกัน ให้เวลา 20 นาที
- นักเรียนเสนอความคิดเห็นของตนเอง
และแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในห้อง ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียน เช่น “มีใครคำตอบนอกเหนือจากเพื่อนหรือไม่
อะไรบ้าง”
นักเรียนเห็นแบบรูปที่ซ่อนอยู่ได้อย่างไร
เพราะเหตุใด
ครูกระตุ้นการคิดด้วย “
โต๊ะอาหารแต่ละตัว จัดที่นั่งได้ 8 ที่นั่ง เมื่อนำโต๊ะ 2
ตัวมาต่อกันจะจัดที่นั่งได้ดังรูป ถ้านำโต๊ะมาต่อกัน 8 ตัว
จะจัดที่นั่งได้กี่ที่นั่ง
- นักเรียนเสนอความคิดเห็นของตนเอง
และแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในห้อง ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียน เช่น “มีใครคำตอบนอกเหนือจากเพื่อนหรือไม่
อะไรบ้าง” ครูถามนักเรียนต่อว่า
ลุงเพิ่มต้องการทำทางเดินรอบที่ดินรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส
โดยวัดจากขอบที่ดินเข้าไปด้านละ 1 เมตร ถ้าที่ดิน มีความยาวด้านละ 17 เมตร
ทางเดินมีพื้นที่กี่ตารางเมตร นักเรียนเสนอความคิดเห็นของตนเอง
และแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในห้อง ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียน เช่น
มีใครคำตอบนอกเหนือจากเพื่อนหรือไม่
จากนั้นครูให้นักเรียนขึ้นทำงานรายบุคคล
- ครูเขียนโจทย์ปัญหาสถานการณ์
ไว้บนกระดานให้นักเรียนทำลงในสมุด พร้อมแสดงวิธีคิด
- นำเสนอวิธีคิดบนกระดาน
- สร้างโจทย์ปัญหาสถานการณ์
และให้เพื่อนๆแสดงวิธีคิด
2
- ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม
กระดาษรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ากว้าง 1.75 เมตร ยาว 2.50 เมตร
นำมาตัดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งมีพื้นที่ 1,750 ตารางเซนติเมตร
จะได้รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสกี่รูป
- นักเรียนเสนอความคิดเห็นของตนเอง
และแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในห้อง ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียน เช่น “มีใครคำตอบนอกเหนือจากเพื่อนหรือไม่
อะไรบ้าง”
ครูถามนักเรียนต่อว่าสระน้ำทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
กว้าง 18 เมตร ยาว 23 เมตร ลึก 5.5 เมตร มีน้ำอยู่ 2/3 ของสระน้ำ น้ำในสระ
มีปริมาตรกี่ลูกบาศก์เมตร
- ครูเขียนโจทย์ปัญหาสถานการณ์
ไว้บนกระดานให้นักเรียนทำลงในสมุด พร้อมแสดงวิธีคิด
- ครูกระตุ้นการคิดด้วยอาหารไทยที่นักท่องเที่ยวชอบรับประทาน
“ถ้ามีนักท่องเที่ยว
120 คน มีนักท่องเที่ยวที่ชอบรับประทานผัดไทยกี่คน
- นักเรียนเสนอความคิดเห็นของตนเอง
และแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในห้อง ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียน เช่น “มีใครคำตอบนอกเหนือจากเพื่อนหรือไม่
อะไรบ้าง” ครูถามนักเรียนต่อว่า
แม่ค้าซื้อแตงโม 150 ผล ราคา 3,600 บาท แล้วนำไปขายผลละ 30 บาท
เมื่อขายหมดแม่ค้าได้กำไร กี่เปอร์เซ็นต์
นักเรียนเสนอความคิดเห็นของตนเอง และแลกเปลี่ยนกับเพื่อนในห้อง
ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียน เช่น มีใครคำตอบนอกเหนือจากเพื่อนหรือไม่ จากนั้นครูให้นักเรียนขึ้นทำงานรายบุคคล
- ครูเขียนโจทย์ปัญหาสถานการณ์
ไว้บนกระดานให้นักเรียนทำลงในสมุด พร้อมแสดงวิธีคิด
- นำเสนอวิธีคิดบนกระดาน
- สร้างโจทย์ปัญหาสถานการณ์ และให้เพื่อนๆ แสดงวิธีคิด
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจเกี่ยวกับอัตราส่วนด้วยวิธีคิดที่หลากหลาย และนำความรู้ไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้ปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล : ตัวชี้วัด ป.6/1มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6 มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6 |
..................................
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
10
|
โจทย์
สรุปองค์ความรู้คณิต (หลังเรียน) ระดับชั้น ป.6 Quarter 2/59
คำถาม
- นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร
- นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ Quarter 2
เครื่องมือคิด
- Show and Share
- Wall thinking
- ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศการเรียนรู้คณิต
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด จากโจทย์ปริศนาคำทายจากตัวเลข
เพื่อเตรียมความพร้อมผู้เรียน และเชื่อมโยงเข้าสู่สาระการเรียนรู้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นด้วยคำถาม
“นักเรียนจะถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองเรียนรู้ ให้ผู้อื่นร่วมเรียนรู้ได้อย่างไร”
“นักเรียนคิดว่าตนเองได้เรียนรู้และมีความเข้าใจอะไรในวิชาคณิตศาสตร์สำหรับ Quarter 2 “
- นักเรียนและครูร่วมแสดงความคิดเห็นและร่วมกันจัดนิทรรศการการ เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้และความเชื่อมโยงของวิชาคณิตศาสตร์กับวิชาอื่นๆ
- นักเรียนสรุปองค์ความรู้หลังเรียน และร่วมจัดนิทรรศการถ่ายทอดความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้ สรุปองค์ความรู้คณิต (หลังเรียน)
ระดับชั้น ป.6 Quarter 2/59 |
ภาระงาน
- นักเรียนได้เล่นเกมปริศนาคำทายจากตัวเลข
- นักเรียนช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน / โจทย์การคิด
- ชิ้นงานสร้างสรรค์จากกิจกรรมเกมการคิด
- สรุปความเข้าใจ(ก่อนเรียน) ในชิ้นงานรูปแบบที่หลากหลาย
|
ความรู้
นักเรียนเข้าใจกระบวนการเรียนรู้เกี่ยวกับหน่วยต่างๆที่เรียนมา และสรุปองค์ความรู้ นำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการคิด(วิเคราะห์/สร้างสรรค์)
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการเห็นแบบรูป
ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- สร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ผ่านการนำเสนอวิธีคิด
- มีวินัยและความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้รับมอบหมาย ร่วมเรียนรู้กับผู้อื่นอย่างมีความสุข
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน ความอดทน
- การเคารพและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
มาตรฐาน ค1.3 เข้าใจระบบจำนวนและใช้การประมาณค่าในการคำนวณและแก้ปัญหาเกี่ยวกับจำนวน : ตัวชี้วัด ป.6/1 , ป.6/2
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจการวัด และแก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด : ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค3.2 เข้าใจเรขาคณิต และใช้การนึกภาพ (visualization) เพื่อใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจำลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.6/3
มาตรฐาน ค4.2 เข้าใจและใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร์ (mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณ์ต่าง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนำไปใช้แก้ปัญหา : ตัวชี้วัด ป.6/1 , ป.6/2
มาตรฐาน ค5.2 เข้าใจและใช้วิธีการทางสถิติและความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็นในการคาดการณ์ได้อย่างสมเหตุสมผล : ตัวชี้วัด ป.6/1
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และการนำเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ : ตัวชี้วัด ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, และ ป.6/6 |
..................................
..................................